บันทึกการเรียนรู้
บันทึกการเรียนรู้
7 ม.ค. 61
AECT(Association for Educational Communications and Technology)
เป็นหน่วยงานที่มีประวัติอันยาวนานในเรื่องการออกแบบสื่อสารการสอนและการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนของครู(ผู้ผลิตสื่อ)
-หน้าที่มี 2 ประการ คือ การแต่งตั้งและการรับรอง ซึ่งได้รับการสนุบสนุนจาก Clarence Bergeson และ William Grady
- กลุ่ม AECT และ NCATE ได้ให้คำจำกัดความเกี่ยวกับผู้ผลิตสื่อมืออาชีพ ขอบข่ายมี 2 ระดับ คือ ในระดับเบื้องต้น และในระดับ Advance Program
-สมาคมสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษาแห่งสหรัฐอเมริกาได้ใช้การแบ่งขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษาตามที่ Seek and Richey ได้ศึกษาไว้ประกอบด้วย 5 ขอบข่ายใหญ่ ดังนี้
1. การออกแบบ(Design) - ระบบการสอน ออกแบบสาร กลยุทธ์การสอน ลักษณะผู้เรียน
2. การพัฒนา(Development) - เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์ เทคโนโลยีโสตทัศนูปกรณ์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีบูรณาการ
3. การใช้(Management) - การใช้สื่อ การแพร่กระจายนวัตกรรม การนำไปใช้และการจัดการ นโยบายหลักการ
4. การจัดการ(Utilization) - โครงการ แหล่งทรัพยากร ระบบส่งถ่าย สารสนเทศ
5. การประเมิน(Evaluation) - วิเคราะห์ปัญหา การประเมิน ความก้าวหน้า ผลสรุป
11 ก.พ.61
องค์ประกอบขององค์กร ECT
1. ปรัชญา วิสัยทัศน์และพันธกิจ
ปรัชญา คือความจริงของชีวิต
วิสัยทัศน์คือแผนขององค์กร,กลุยุทธ์,แผนกลยุทธ์
พันธกิจคือสิ่งที่ต้องทำ(เพื่อตอบแผน)
2. เป้าหมายและวัตถุประสงค์
3.โครงสร้างพื้นฐาน เช่น พวกคอมพิวเตอร์ เน็ต น้ำ ไฟ แอพพลิเคชั่น ซอฟแวร์ และอีกหลายๆอย่าง
4.ระบบการผลิตและบริหาร
5.วัสดุ เครื่องมือ และอุปกรณ์ทาง ECT
6. บุคลากร(ผู้บริหาร,นัก ECT , นักเนื้อหา,เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคนิค,บุคลากรสนุับสนุนด้วยการผลิต)
7.ระบบการบริหารจัดการ(ต้องเรียนรู้หลักการก่อนซึ่งอาจจะต้องไปอบรมก่อน
8.การติดตามประเมินผลคือมีเกณฑ์ มีการตัดสิน
1. ทฤษฎี Z เป็นทฤษฎีของ คุณวิลเลียม โอชิ
ทฤษฎี Z อาจจะเรียกว่ากลุ่มทฤษฎีร่วมสมัย เป็นทฤษฎีที่มองเห็นว่าการจูงใจคนนั้นต้องเป็นไปตามสถานการณ์ ทฤษฎีนี้มีแนวความคิดในการบริหารจัดการของโลกนั้น แบ่งออกเป็น 2 ค่าย คือ ค่ายอเมริกัน และค่ายญี่ปุ่น โดยสาเหตุที่ต้องศึกษาเช่นนั้น เพราะเขามองว่า ในค่ายอเมริกันนั้น มักประสบความสำเร็จในธุรกิจโดยเฉพาะก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 และเป็นผู้ที่ชนะสงครามโลกครั้งที่ 2 อีกด้วย ผลปรากฏว่า ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นนั้นแม้จะเป็นประเทศที่ขาดดุลทางการค้าแก่อเมริกาแต่ได้ปฏิวัติอุตสาหกรรมขึ้นมา จนสามารถเป็นยักษ์ใหญ่ในโลกเศรษฐกิจในปัจจุบันได้ คล้ายกับว่า อเมริกันนั้นขาดดุลการค้ากับญี่ปุ่นอย่างย่อยยับ ดังนั้นวิลเลี่ยม จึงศึกษาถึงจุดดีของการบริหารจัดการจากสองค่ายนำมาสร้างเป็นแนวคิดขึ้นมาเมื่อไม่นานมานี้ การที่จะทำความเข้าใจทฤษฎี Z ได้นั้น ต้องทำความเข้าใจของทฤษฎี A และทฤษฎี J ก่อน
2.ทฤษฎี XY
นำ XY มาเปรียบเทียบกับบุคลิกของคน ได้แก่ Y คือคนที่เกียจคร้าน ทำงานแบบไม่มีจุดมุ่งหมาย ทฤษฎี X จึงนำแรงจูงใจมากระตุ้นคนที่เป็นแบบX เช่นการให้รางวัล การชมเชยต่างๆ
ส่วน Y คือคนที่ทำงานดี มีแรงจูงใจในการทำงานอยู่แล้ว ทฤษฎีY จะนำคนเหล่านี้มาเป็นตัวอย่างให้กับคนที่มีลักษณะ X เพื่อกระตุ้นคนแบบX ให้อยากเหมือนคนที่มีลักษณะแบบY
25 มี.ค.61
1.กระบวนการบริหาร POSDCoRB
กูลิค และ เออร์วิกค์ ได้รวบรวมแนวคิดทางด้านการบริหารต่าง ๆ เอาไว้ในหนังสือชืื่อ "Paper on the Science of Administration ) ชื่อว่า "POSDCoRB" ภาระหน้าที่ที่สำคัญของนักบริหาร 7 ประการ คือ
1. Planning การวางแผน ได้แก่ การจัดวางโครงการและแผนงานต่างๆ ขึ ้นมาไว้ ล่วงหน้าเพื่อทราบว่า ต้องการทำอะไร ที่ไหน เมื่อใด อย่างไร ใครเป็นผู้ทำ ทำร่วมกับใคร และ ต้องการผลสำเร็จออกมาอย่างไร
2. Organizing การจัดองค์การ ได้แก่ ได้แก่ การแบ่งงาน การกำหนดส่วนงาน ก าหนดโครงสร้างขององค์การ การกำหนดตำแหน่งงานต่างๆ พร้อมกับอ านาจหน้าที่และขอบเขต ของอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบขึ ้นมาไว้อย่างชัดเจนและมีเอกภาพในการบังคับบัญชาเพื่อ เป็นศูนย์กลางในการปฏิบัติงานร่วมกันของคนในองค์การ
3. Staffing การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน หมายถึง การจัดการเกี่ยวกับตัวบุคคลในองค์การ นับตั ้งแต่ การจัด อัตราก าลัง การสรรหา การคัดเลือก การบรรจุแต่งตั้งบุคคล การเลื่อนขั้น เลื่อนตำแหน่ง เงินเดือน การโยกย้าย การพัฒนาบุคคลในองค์การเรื่อยไปจนกระทั่งการให้บุคคลพ้นจากตำแหน่ง
4. Directing การอำนวยการ ได้แก่การท าหน้าที่ในการตัดสินใจ วินิจฉัยสั่งการ การออกค าสั่ง มอบหมายภารกิจการงานไปให้ผู้ใต้บังคับบัญชา หลังจากนั ้นต้องใช้ภาวะของการ เป็ นผู้น าในการกระตุ้นจูงใจคนให้ยอมรับในผู้บริหาร ยอมทุ่มเทชีวิตจิตใจความรู้ความสามารถ ท างานอย่างเต็มที่เพื่อความส าเร็จขององค์การ
5. Coordinating การประสานงาน ได้แก่ การทำน้าที่ในการประสาน กิจกรรมต่างๆ ที่ได้มีการแบ่งแยกออกไปเป็นส่วนงานย่อยๆ เพื่อให้ทุกภาคส่วนสามารถท างาน ประสานสอดคล้องกัน และมุ่งไปสู่เป้าหมายเดียวกันคือการท างานให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ โดยรวมขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
6. Reporting การรายงาน ได้แก่การทำหน้าที่ในการรับฟังรายงานผลการฏิบัติ งานของบุคคลและหน่วยงานที่เป็ นผู้ใต้บังคับบัญชาได้รายงานมา เพื่อทราบถึงความเคลื่อนไหว ของงานส่วนต่างๆว่า งานต่างๆ สามารถด าเนินไปตามแผนงานที่ก าหนดไว้หรือไม่เพียงใด การรายงานถือเป็นมาตราการในการตรวจสอบและควบคุมงานด้วย
7. Budgeting การงบประมาณ ได้แก่ หน้าที่ที่เกี่ยวกับการจัดท างบประมาณ การจัดท าบัญชีการใช้จ่ายเงินและการตรวจสอบควบคุมด้านการเงิน การบัญชีของหน่วยงาน นั่นเอง โดยปกติแล้วงบประมาณ ถือว่าเป็ นแผนงานชนิดหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงกิจกรรมโครงการ ต่างๆ ที่องค์การจะปฏิบัติจัดทำในระยะเวลาหนึ่งที่กำหนดไว้
2.ทฤษฎีระบบราชการของ Max Waber
3.ทฤษฎี Z โดย วิลเลี่ยม โออุชิ (http://www.redbead.com/docs/theory_z_management.pdf)
ลักษณะที่สำคัญของทฤษฎี Z
1 ระยะเวลาจ้างงานระยะยาว เป็นไปตลอดชีพ (Lifetime Employment)
ไม่มีข้อผูกมัดหรือเงื่อนไขทางสังคม ที่ทำให้คนงานจะย้ายงานไม่ได้หรือลำบากใจ ย้ายงานอย่างในญี่ปุ่น
2 การประเมินและเลื่อนตำแหน่ง (Slow Evaluation and Promotion)
การเลื่อนขั้นเป็นไปอย่างเร็วปานกลาง แต่จะไม่ช้าขนาด 10 ถึง 15 ปี ระยะเวลาเลื่อนขั้นต่าง ๆ จะสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม แต่การมีเวลาทิ้งช่วงช่วยให้พนักงานได้เห็นผลประโยชน์ และการประเมินผลงานของแผนงานระยะกลางและระยะยาว
3 ลักษณะงานอาชีพ (Non specialized Career Paths)
แนวทางอาชีพกึ่งเฉพาะด้าน เพราะไม่ถึงกับต้องหมุนเวียนไปทำงานทุก ๆ อย่างในบริษัท หรือกระทั่งไปทำบริษัทอื่นในเครือหรือสาขาอื่น แต่เปิดโอกาสให้พนักงานของตนได้มีประสบการณ์ในสายงานหนึ่ง ตั้งแต่การออกแบบ การผลิต และกระทั่งการวางตลาด ประสบการณ์เหล่านี้ช่วยให้เกิดความพอใจที่จะอยู่ในบริษัทนั้นมากยิ่งขึ้น
4 การบริหารมีระบบการควบคุมที่ไม่มีรูปแบบ (Implicit Control Mechanisms)
เป็นการควบคุมการบริหารแบบอเมริกัน ใช้ระบบ MBO กลไกการควบคุมงานอยู่ในจุดสมดุล ระหว่างแบบทางตรงและแบบทางอ้อม โดยสร้างให้เกิดบรรยากาศของความไว้วางใจ (trusts) ขึ้นในองค์การ
5 การตัดสินใจแบบมีส่วนร่วม (Consensual Decision Making)
มีทั้งแบบรวมอำนาจและกระจายอำนาจ โดยมีการรับฟังข้อคิดเห็นจากทุก ๆ คนที่เกี่ยวข้องก่อน และคนที่รับผิดชอบจะเป็นคนตัดสินใจเองในที่สุด
6 การทำงานและมนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ
มีอิสระเป็นตัวของตัวเอง มีเสรีภาพเท่าเทียมกันยึดหลัก ซื่อสัตย์ต่อกัน (Trust) ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (subtlety) ความใกล้ชิดและเป็นกันเอง (intimacy) ไม่เน้นถึงการปฏิบัติต่อกันในระหว่างผู้ใต้บังคับบัญชากับผู้บังคับบัญชา โดยเพิ่มความเอาใจใส่ต่อบุคคลใต้บังคับบัญชามากยิ่งขึ้น และเน้นการประสานงานกันในระหว่างคนในระดับเดียวกัน ให้ทุก ๆ คนปฏิบัติต่อกันในฐานะ คนกับคน มิใช่ในฐานะ เจ้านายกับลูกน้อง
ข้อดี / ข้อเสีย (Strong point / Distinctive point)
ข้อดี ในการทำงานกับโรงงานแบบตะวันตก
• ค่าตอบแทน สูง เมื่อเทียบกับ โรงงานในกลุ่มอื่นๆ
• เวลาทำงานและหน้าที่รับผิดชอบที่ชัดเจน
• ข้อกำหนดและกฏระเบียบในการทำงานที่ชัดเจน
• มีความอิสระทางความคิดและการตัดสินใจ
• การประเมินผลที่ชัดเจนเป็นระบบ
• ได้ใช้ภาษาต่างประเทศ ทำให้เพิ่มทักษะ ทางด้านภาษา
• มีโอกาศ ได้เปิดโลกทัศน์ ในหลายๆด้าน ถ้าได้มีโอกาสไปดูงานต่างประเทศ
• ส่งเสริมการอบรมในการทำงานในทุกๆด้าน เป็นความรู้ความสามารถติดตัวไปตลอด
• มีทุนหรืองบประมาณที่มากในการส่งเสริมการพัฒนาและ การวิจัย ในด้านเทคโนโลยี่เพื่อประยุคต์ ในกระบวนการผลิต ทำให้บุคคลเพิ่ม ความรู้และประสบการณ์
ข้อเสีย ในการทำงานกับโรงงานแบบตะวันตก
• การประเมินผลงาน เป็นตามผลงาน ฉะนั้น อาจไม่เหมาะกับคนที่ ทำงานเลื่อยๆ
• วัฒนธรรมบ้างอย่าง ต้องปรับระหว่างกัน
• ความรับผิดชอบในการทำงานสูง ต้องรอบครอบในการทำงาน
• มีความอิสระทางความคิดและการตัดสินใจ แต่เป็นดาบสองคม ต้องเรียนรู้ ในงานและใช้ประสบการณ์ ในการพิจารณา ในงานต่างๆด้วย (อาจตัดสินใจผิดพลาด แต่อย่าเสียกำลังใจ และเรียนรู้ต่อไป ) เพราะ บ้างคนอาจกลัวจนไม่กล้าตัดสินใจ อาจทำให้ งานไม่เดิน ฉะนั้น การตัดสินใจใดๆ ต้องอ้างอิงจากข้อมูลเป็นหลัก
• การประเมินผลที่ชัดเจนเป็นระบบ แต่อย่างไรก็ อิงกลุ่ม เพื่อทำให้เกิดการแข่งขัน พัฒนาความสามารถส่วนบุคคล ยังผลสู่บริษัท
• ได้ใช้ภาษาต่างประเทศ แต่ ก็เป็นอุปสรรค ในการสื่อสารที่ชัดเจนเช่นกัน
• ส่งเสริมการอบรมในการทำงานในทุกๆด้าน สร้างบุคคลกรที่มีคุณภาพ แต่ก็ เกิดสมองไหลได้ง่าย ทำให้ต้องหาบุคคลกรทดแทน อยู่ตลอด ทำให้ขาดบุคคลกรที่มีความรู้เชิงลึกเฉพาะด้าน หรือ มีน้อย
ความเป็นมาของทฤษฎี Z
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีเหตุการณ์ที่สำคัญในด้านธุรกิจประการหนึ่งเกิดขึ้น คือ ผลผลิตทางด้านอุตสาหกรรมของประเทศญี่ปุ่นได้เพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี และเพิ่มขึ้นในอัตราสูง แต่ในขณะที่อุตสาหกรรมในอเมริกากลับเพิ่มขึ้นในอัตราที่ต่ำมาก และต่ำกว่าอัตราผลผลิตของประเทศต่าง ๆ ในยุโรป นักธุรกิจชาวอเมริกันได้ตระหนักถึงความจริงในเรื่องนี้ จึงได้พยายามศึกษาค้นคว้าหาวิธีต่าง ๆ ที่จะนำมาแก้ไจสถานการณ์ เพื่อความอยู่รอดขององค์การ
3.ทฤษฎี MBO
กระบวนการของ MBO
กระบวนการของ MBO มีรายละเอียดดังนี้ครับ
1. การกำหนดเป้าหมายขององค์กร
ผู้บังคับบัญชาจะต้องเข้าใจในเป้าหมายและทิศทางที่องค์กรจะมุ่งไปอย่างชัดเจน แล้วนำ
เป้าหมายและทิศทางขององค์กรมาวางแผนการทำงานให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา
2. แจ้งวัตถุประสงค์และเป้าหมายให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้ทราบ
โดยอาจให้ผู้ใต้บังคับบัญชาไปจัดทำแผนปฏิบัติการย่อยแล้วกลับมารายงานให้ทราบในเบื้องต้นว่าจะมีแนวทางดำเนินการอย่างไร
3. ผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชาตกลงกันให้ชัดเจน
ในขั้นนี้ทั้งหัวหน้าและลูกน้องจะต้องมาหารือกันก่อนที่จะเริ่มงานว่าจะบรรลุเป้าหมาย
ร่วมกันได้อย่างไร, กรอบของระยะเวลามีเท่าใด, เริ่มต้นและสิ้นสุดเมื่อใด, จะมีการติดตามและตรวจสอบผลการปฏิบัติงานกันอย่างไร เพื่อให้มีความเข้าใจตรงกันและมีการปฏิบัติงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
4. ปล่อยให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงานไปตามแผนที่ได้ตกลงกัน
เมื่อตกลงกันเรียบร้อยตามข้อ 3 ในขั้นนี้หัวหน้าก็ต้องปล่อยให้ลูกน้องทำงานไปตามที่เขา
ได้รับมอบหมาย ซึ่งไม่ได้แปลว่าหัวหน้าปล่อยไปแล้วปล่อยไปเลยนะครับ ทั้งนี้หากลูกน้องมีปัญหาหรือมีอุปสรรคอย่างใด ก็ย่อมจะกลับมาหารือกับหัวหน้าได้เสมอนะครับ
5. ผู้บังคับบัญชาตรวจสอบและติดตามผลการปฏิบัติงาน
ในขั้นนี้หัวหน้าก็จะต้องมีการตรวจสอบความคืบหน้าของงานว่าลูกน้องทำงานไปได้เท่าไร
ซึ่งหัวหน้าก็จะต้องกำหนดวิธีการติดตามผลในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การให้ลูกน้องรายงานความคืบหน้าในที่ประชุม, การให้ทำเป็นรายงาน เพื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมายว่าลูกน้องสามารถปฏิบัติงานไปได้กี่เปอร์เซ็นต์ตามกรอบระยะเวลาที่ตกลงกันไว้แล้ว และจะบรรลุเป้าหมายเมื่อใด เป็นไปตามแผนงานหรือไม่ หรือจะต้องมีการปรับเปลี่ยนแผนงานหรือไม่อย่างไร เป็นต้น
6. มีระบบรางวัลรองรับ
แน่นอนครับว่าหากลูกน้องสามารถปฏิบัติงานได้ตามแผนงานที่ตกลงกันไว้แล้ว หัวหน้าก็
จะต้องมาพิจารณาว่าจะมีการให้คุณให้โทษสำหรับลูกน้องที่มีความสามารถ (หรือไม่สามารถ) ทำงานนั้น ๆ ได้แค่ไหนเพียงใด บรรลุเป้าหมายที่หารือกันไว้ในตอนแรกหรือไม่ เพราะเหตุใด
ลักษณะของเป้าหมายที่กำหนดร่วมกัน
จากกระบวนการของ MBO ข้างต้น ผมขอขยายถึงเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ร่วมกันระหว่างหัวหน้ากับลูกน้องดังนี้คือ
เป้าหมายที่กำหนดขึ้นนั้นจะต้องสอดคล้องกับกลยุทธ์หรือทิศทางที่องค์กรจะมุ่ง
ไป เช่น องค์กรมีนโยบายในการเพิ่มยอดขายขึ้นจากปีที่ผ่านมาอีก 20 เปอร์เซ็นต์
เมื่อเป็นเช่นนี้เป้าหมายของหน่วยงานต่าง ๆ จะต้องถูกกำหนดให้สอดคล้องกับทิศทาง
นโยบายในเรื่องการเพิ่มยอดขาย ดังนั้นผู้จัดการฝ่ายขายจะต้องรับเป้าหมายนี้มาวางแผนในการจัดทีมงานและตั้งเป้าหมายการขายให้กับพนักงานขายในสังกัด โดยการถ่ายทอดเป้าหมายดังกล่าว และหารือกันเพื่อกำหนดเป้าหมายของทีมงานและของตัวบุคคล เช่น การกำหนดให้พนักงานจะต้องขยายยอดขายสำหรับลูกค้าเดิมเพิ่มขึ้นอีก 15 เปอร์เซ็นต์ และแสวงหาลูกค้าใหม่เพิ่มขึ้นอีก 15 เปอร์เซ็นต์ภายในปีนี้ เป็นต้น
ในขณะที่ฝ่ายบริการลูกค้าก็จะต้องรับเป้าหมายนี้มาถ่ายทอดให้กับพนักงานในฝ่ายบริการลูกค้าเพื่อสร้างความประทับใจให้กับลูกค้าได้อย่างไร โดยมีเป้าหมายที่ชัดเจน เช่น การจัดทำแบบสอบถามความพึงพอใจของลูกค้าเพื่อนำกลับมาประมวลผลว่าดีขึ้นหรือไม่อย่างไร เพราะจะมีผลกระทบต่อยอดขายด้วยเช่นกัน เช่น การกำหนดเป้าหมายว่าพนักงานบริการลูกค้าจะต้องออกตลาดไปพบลูกค้าอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน เพื่อสอบถามความพึงพอใจของลูกค้ารายใหญ่ เป็นต้น
ในฝ่ายฝึกอบรมก็จะต้องรับนโยบายเพิ่มยอดขายขึ้นมากอีก 20 เปอร์เซ็นต์มาจัดการฝึกอบรมให้กับพนักงานขาย, พนักงานบริการลูกค้า เช่น อาจกำหนดเป้าหมายให้จะต้องมีชั่วโมงเข้าอบรมความรู้ในเรื่องการขาย และการให้บริการลูกค้าอย่างน้อยคนละ 30 ชั่วโมง ต่อคน ต่อปี เป็นต้น
เป้าหมายจะต้องมีความท้าทาย ดังที่ได้ยกตัวอย่างที่ผมได้ยกมาให้เห็นข้างต้น ซึ่ง
เป้าหมายของแต่ละหน่วยงานนั้นจะต้องมีความท้าทาย ไม่ยากจนทำให้ผู้ปฏิบัติท้อแท้ หรือไม่ง่ายจนไม่รู้จะกำหนดเป้าไว้ทำไม ซึ่งหัวหน้ากับลูกน้องจะต้องมาตกลงกันในเรื่องเป้าหมายเพื่อให้เข้าใจตรงกันครับ
เป้าหมายนั้นจะต้องวัดผลได้เป็นรูปธรรม ซึ่งควรจะต้องมีการวัดผลได้ทั้งเขิงปริมาณ
และเชิงคุณภาพประกอบกันครับ
มีกำหนดระยะเวลาที่ชัดเจน โดยทำให้ทั้งหัวหน้าและลูกน้องรับทราบถึงกำหนด
ระยะเวลาในการวัดผลการดำเนินงานเพื่อติดตามและประเมินผลได้อย่างชัดเจน และทำงานได้ทันตามเวลาครับ
MBO เหมือนหรือแตกต่างจาก Balanced Scorecard (BSC) อย่างไร ?
มาถึงตรงนี้แล้วหลายท่านคงอยากทราบนะครับว่า แล้วเจ้า MBO กับระบบการบริหารจัดการในยุคใหม่ที่เรียกว่า Balanced Scorecard น่ะมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
ส่วนที่มีความเหมือนกันระหว่าง MBO กับ BSC มีดังนี้
แนวคิดในการกำหนดวัตถุประสงค์เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่องค์กรต้องการ
การแปลงวัตถุประสงค์จากระดับองค์กรลงสู่ระดับหน่วยงานลงเรื่อย ๆ จนถึง
ตัวบุคคลผู้ปฏิบัติ
มีระบบการควบคุมตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ร่วมกัน
มีระบบรางวัลรองรับ
ส่วนที่แตกต่างกันระหว่าง MBO กับ BSC คือ
BSC เกิดทีหลังจึงมีแนวคิดที่กว้างและละเอียดมากกว่า MBO
BSC เน้นในเรื่องการวัดผลในรายละเอียดมากกว่า MBO
การเริ่มทำ BSC จะเริ่มจากการหาวิสัยทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ขององค์กรก่อน แล้วจึง
นำกลยุทธ์นั้นมาแปลงเป็นดัชนีชี้วัดหลักเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามกลยุทธ์
4มี.ค.61
1. ทฤษฎีของการบริหารจัดการ โดย Henry Fayol (1949ที่เขียนหนังสือไว้)
เป็นบิดาของการบริหารจัดการสมัยใหม่
เป็นเจ้าของแนวคิดว่าด้วยการจัดการในการบริหารงานของผู้บริหารงานทั้งภาครัฐและเอกชน หลักการจัดการดังกล่าวมีความยืดหยุ่นได้ สาระของหลักการจัดการมี 14 ข้อ ดังนี้
1.Division of work การจัดแบ่งกลุ่มแรงงานตามความชำนาญ เพื่มเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
2.Authority and Responsibility อำนาจหน้าที่ การทำให้คนบริหารงานระดับต่างๆ มีสิทธิจะสั่งการและมีอำนาจที่ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องเชื่อฟัง
3. Discipline กฎระเบียบและวินัย การต้องมีกฎระเบียบที่คนจำต้องปฏิบัติตาม
4. Unity of command
5. Unity of direction
6. Subordination of individual interests to the general interest
7. Remuneration
8.Centralization
9.Scalar chain(line of authority)
10.Order
11. Equity ความยุติธรรมแฃะเสมอภาค
12.Stability of tenure(ความครอบครอง) of personnelความมั่นคงในการทำงาน
13. Initiative การต้องมีความริเริ่ม
14.Esprit de corps(Spirit of cooperation) การต้องมีขวัญและกำลังใจ
แผน 5 ปัจจัย เรียกว่า POCCC
7 ม.ค. 61
AECT(Association for Educational Communications and Technology)
เป็นหน่วยงานที่มีประวัติอันยาวนานในเรื่องการออกแบบสื่อสารการสอนและการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนของครู(ผู้ผลิตสื่อ)
-หน้าที่มี 2 ประการ คือ การแต่งตั้งและการรับรอง ซึ่งได้รับการสนุบสนุนจาก Clarence Bergeson และ William Grady
- กลุ่ม AECT และ NCATE ได้ให้คำจำกัดความเกี่ยวกับผู้ผลิตสื่อมืออาชีพ ขอบข่ายมี 2 ระดับ คือ ในระดับเบื้องต้น และในระดับ Advance Program
-สมาคมสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษาแห่งสหรัฐอเมริกาได้ใช้การแบ่งขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษาตามที่ Seek and Richey ได้ศึกษาไว้ประกอบด้วย 5 ขอบข่ายใหญ่ ดังนี้
1. การออกแบบ(Design) - ระบบการสอน ออกแบบสาร กลยุทธ์การสอน ลักษณะผู้เรียน
2. การพัฒนา(Development) - เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์ เทคโนโลยีโสตทัศนูปกรณ์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีบูรณาการ
3. การใช้(Management) - การใช้สื่อ การแพร่กระจายนวัตกรรม การนำไปใช้และการจัดการ นโยบายหลักการ
4. การจัดการ(Utilization) - โครงการ แหล่งทรัพยากร ระบบส่งถ่าย สารสนเทศ
5. การประเมิน(Evaluation) - วิเคราะห์ปัญหา การประเมิน ความก้าวหน้า ผลสรุป
11 ก.พ.61
องค์ประกอบขององค์กร ECT
1. ปรัชญา วิสัยทัศน์และพันธกิจ
ปรัชญา คือความจริงของชีวิต
วิสัยทัศน์คือแผนขององค์กร,กลุยุทธ์,แผนกลยุทธ์
พันธกิจคือสิ่งที่ต้องทำ(เพื่อตอบแผน)
2. เป้าหมายและวัตถุประสงค์
3.โครงสร้างพื้นฐาน เช่น พวกคอมพิวเตอร์ เน็ต น้ำ ไฟ แอพพลิเคชั่น ซอฟแวร์ และอีกหลายๆอย่าง
4.ระบบการผลิตและบริหาร
5.วัสดุ เครื่องมือ และอุปกรณ์ทาง ECT
6. บุคลากร(ผู้บริหาร,นัก ECT , นักเนื้อหา,เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคนิค,บุคลากรสนุับสนุนด้วยการผลิต)
7.ระบบการบริหารจัดการ(ต้องเรียนรู้หลักการก่อนซึ่งอาจจะต้องไปอบรมก่อน
8.การติดตามประเมินผลคือมีเกณฑ์ มีการตัดสิน
1. ทฤษฎี Z เป็นทฤษฎีของ คุณวิลเลียม โอชิ
ทฤษฎี Z อาจจะเรียกว่ากลุ่มทฤษฎีร่วมสมัย เป็นทฤษฎีที่มองเห็นว่าการจูงใจคนนั้นต้องเป็นไปตามสถานการณ์ ทฤษฎีนี้มีแนวความคิดในการบริหารจัดการของโลกนั้น แบ่งออกเป็น 2 ค่าย คือ ค่ายอเมริกัน และค่ายญี่ปุ่น โดยสาเหตุที่ต้องศึกษาเช่นนั้น เพราะเขามองว่า ในค่ายอเมริกันนั้น มักประสบความสำเร็จในธุรกิจโดยเฉพาะก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 และเป็นผู้ที่ชนะสงครามโลกครั้งที่ 2 อีกด้วย ผลปรากฏว่า ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นนั้นแม้จะเป็นประเทศที่ขาดดุลทางการค้าแก่อเมริกาแต่ได้ปฏิวัติอุตสาหกรรมขึ้นมา จนสามารถเป็นยักษ์ใหญ่ในโลกเศรษฐกิจในปัจจุบันได้ คล้ายกับว่า อเมริกันนั้นขาดดุลการค้ากับญี่ปุ่นอย่างย่อยยับ ดังนั้นวิลเลี่ยม จึงศึกษาถึงจุดดีของการบริหารจัดการจากสองค่ายนำมาสร้างเป็นแนวคิดขึ้นมาเมื่อไม่นานมานี้ การที่จะทำความเข้าใจทฤษฎี Z ได้นั้น ต้องทำความเข้าใจของทฤษฎี A และทฤษฎี J ก่อน
2.ทฤษฎี XY
นำ XY มาเปรียบเทียบกับบุคลิกของคน ได้แก่ Y คือคนที่เกียจคร้าน ทำงานแบบไม่มีจุดมุ่งหมาย ทฤษฎี X จึงนำแรงจูงใจมากระตุ้นคนที่เป็นแบบX เช่นการให้รางวัล การชมเชยต่างๆ
ส่วน Y คือคนที่ทำงานดี มีแรงจูงใจในการทำงานอยู่แล้ว ทฤษฎีY จะนำคนเหล่านี้มาเป็นตัวอย่างให้กับคนที่มีลักษณะ X เพื่อกระตุ้นคนแบบX ให้อยากเหมือนคนที่มีลักษณะแบบY
25 มี.ค.61
1.กระบวนการบริหาร POSDCoRB
กูลิค และ เออร์วิกค์ ได้รวบรวมแนวคิดทางด้านการบริหารต่าง ๆ เอาไว้ในหนังสือชืื่อ "Paper on the Science of Administration ) ชื่อว่า "POSDCoRB" ภาระหน้าที่ที่สำคัญของนักบริหาร 7 ประการ คือ
1. Planning การวางแผน ได้แก่ การจัดวางโครงการและแผนงานต่างๆ ขึ ้นมาไว้ ล่วงหน้าเพื่อทราบว่า ต้องการทำอะไร ที่ไหน เมื่อใด อย่างไร ใครเป็นผู้ทำ ทำร่วมกับใคร และ ต้องการผลสำเร็จออกมาอย่างไร
2. Organizing การจัดองค์การ ได้แก่ ได้แก่ การแบ่งงาน การกำหนดส่วนงาน ก าหนดโครงสร้างขององค์การ การกำหนดตำแหน่งงานต่างๆ พร้อมกับอ านาจหน้าที่และขอบเขต ของอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบขึ ้นมาไว้อย่างชัดเจนและมีเอกภาพในการบังคับบัญชาเพื่อ เป็นศูนย์กลางในการปฏิบัติงานร่วมกันของคนในองค์การ
3. Staffing การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน หมายถึง การจัดการเกี่ยวกับตัวบุคคลในองค์การ นับตั ้งแต่ การจัด อัตราก าลัง การสรรหา การคัดเลือก การบรรจุแต่งตั้งบุคคล การเลื่อนขั้น เลื่อนตำแหน่ง เงินเดือน การโยกย้าย การพัฒนาบุคคลในองค์การเรื่อยไปจนกระทั่งการให้บุคคลพ้นจากตำแหน่ง
4. Directing การอำนวยการ ได้แก่การท าหน้าที่ในการตัดสินใจ วินิจฉัยสั่งการ การออกค าสั่ง มอบหมายภารกิจการงานไปให้ผู้ใต้บังคับบัญชา หลังจากนั ้นต้องใช้ภาวะของการ เป็ นผู้น าในการกระตุ้นจูงใจคนให้ยอมรับในผู้บริหาร ยอมทุ่มเทชีวิตจิตใจความรู้ความสามารถ ท างานอย่างเต็มที่เพื่อความส าเร็จขององค์การ
5. Coordinating การประสานงาน ได้แก่ การทำน้าที่ในการประสาน กิจกรรมต่างๆ ที่ได้มีการแบ่งแยกออกไปเป็นส่วนงานย่อยๆ เพื่อให้ทุกภาคส่วนสามารถท างาน ประสานสอดคล้องกัน และมุ่งไปสู่เป้าหมายเดียวกันคือการท างานให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ โดยรวมขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
6. Reporting การรายงาน ได้แก่การทำหน้าที่ในการรับฟังรายงานผลการฏิบัติ งานของบุคคลและหน่วยงานที่เป็ นผู้ใต้บังคับบัญชาได้รายงานมา เพื่อทราบถึงความเคลื่อนไหว ของงานส่วนต่างๆว่า งานต่างๆ สามารถด าเนินไปตามแผนงานที่ก าหนดไว้หรือไม่เพียงใด การรายงานถือเป็นมาตราการในการตรวจสอบและควบคุมงานด้วย
7. Budgeting การงบประมาณ ได้แก่ หน้าที่ที่เกี่ยวกับการจัดท างบประมาณ การจัดท าบัญชีการใช้จ่ายเงินและการตรวจสอบควบคุมด้านการเงิน การบัญชีของหน่วยงาน นั่นเอง โดยปกติแล้วงบประมาณ ถือว่าเป็ นแผนงานชนิดหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงกิจกรรมโครงการ ต่างๆ ที่องค์การจะปฏิบัติจัดทำในระยะเวลาหนึ่งที่กำหนดไว้
2.ทฤษฎีระบบราชการของ Max Waber
3.ทฤษฎี Z โดย วิลเลี่ยม โออุชิ (http://www.redbead.com/docs/theory_z_management.pdf)
ลักษณะที่สำคัญของทฤษฎี Z
1 ระยะเวลาจ้างงานระยะยาว เป็นไปตลอดชีพ (Lifetime Employment)
ไม่มีข้อผูกมัดหรือเงื่อนไขทางสังคม ที่ทำให้คนงานจะย้ายงานไม่ได้หรือลำบากใจ ย้ายงานอย่างในญี่ปุ่น
2 การประเมินและเลื่อนตำแหน่ง (Slow Evaluation and Promotion)
การเลื่อนขั้นเป็นไปอย่างเร็วปานกลาง แต่จะไม่ช้าขนาด 10 ถึง 15 ปี ระยะเวลาเลื่อนขั้นต่าง ๆ จะสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม แต่การมีเวลาทิ้งช่วงช่วยให้พนักงานได้เห็นผลประโยชน์ และการประเมินผลงานของแผนงานระยะกลางและระยะยาว
3 ลักษณะงานอาชีพ (Non specialized Career Paths)
แนวทางอาชีพกึ่งเฉพาะด้าน เพราะไม่ถึงกับต้องหมุนเวียนไปทำงานทุก ๆ อย่างในบริษัท หรือกระทั่งไปทำบริษัทอื่นในเครือหรือสาขาอื่น แต่เปิดโอกาสให้พนักงานของตนได้มีประสบการณ์ในสายงานหนึ่ง ตั้งแต่การออกแบบ การผลิต และกระทั่งการวางตลาด ประสบการณ์เหล่านี้ช่วยให้เกิดความพอใจที่จะอยู่ในบริษัทนั้นมากยิ่งขึ้น
4 การบริหารมีระบบการควบคุมที่ไม่มีรูปแบบ (Implicit Control Mechanisms)
เป็นการควบคุมการบริหารแบบอเมริกัน ใช้ระบบ MBO กลไกการควบคุมงานอยู่ในจุดสมดุล ระหว่างแบบทางตรงและแบบทางอ้อม โดยสร้างให้เกิดบรรยากาศของความไว้วางใจ (trusts) ขึ้นในองค์การ
5 การตัดสินใจแบบมีส่วนร่วม (Consensual Decision Making)
มีทั้งแบบรวมอำนาจและกระจายอำนาจ โดยมีการรับฟังข้อคิดเห็นจากทุก ๆ คนที่เกี่ยวข้องก่อน และคนที่รับผิดชอบจะเป็นคนตัดสินใจเองในที่สุด
6 การทำงานและมนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ
มีอิสระเป็นตัวของตัวเอง มีเสรีภาพเท่าเทียมกันยึดหลัก ซื่อสัตย์ต่อกัน (Trust) ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (subtlety) ความใกล้ชิดและเป็นกันเอง (intimacy) ไม่เน้นถึงการปฏิบัติต่อกันในระหว่างผู้ใต้บังคับบัญชากับผู้บังคับบัญชา โดยเพิ่มความเอาใจใส่ต่อบุคคลใต้บังคับบัญชามากยิ่งขึ้น และเน้นการประสานงานกันในระหว่างคนในระดับเดียวกัน ให้ทุก ๆ คนปฏิบัติต่อกันในฐานะ คนกับคน มิใช่ในฐานะ เจ้านายกับลูกน้อง
ข้อดี / ข้อเสีย (Strong point / Distinctive point)
ข้อดี ในการทำงานกับโรงงานแบบตะวันตก
• ค่าตอบแทน สูง เมื่อเทียบกับ โรงงานในกลุ่มอื่นๆ
• เวลาทำงานและหน้าที่รับผิดชอบที่ชัดเจน
• ข้อกำหนดและกฏระเบียบในการทำงานที่ชัดเจน
• มีความอิสระทางความคิดและการตัดสินใจ
• การประเมินผลที่ชัดเจนเป็นระบบ
• ได้ใช้ภาษาต่างประเทศ ทำให้เพิ่มทักษะ ทางด้านภาษา
• มีโอกาศ ได้เปิดโลกทัศน์ ในหลายๆด้าน ถ้าได้มีโอกาสไปดูงานต่างประเทศ
• ส่งเสริมการอบรมในการทำงานในทุกๆด้าน เป็นความรู้ความสามารถติดตัวไปตลอด
• มีทุนหรืองบประมาณที่มากในการส่งเสริมการพัฒนาและ การวิจัย ในด้านเทคโนโลยี่เพื่อประยุคต์ ในกระบวนการผลิต ทำให้บุคคลเพิ่ม ความรู้และประสบการณ์
ข้อเสีย ในการทำงานกับโรงงานแบบตะวันตก
• การประเมินผลงาน เป็นตามผลงาน ฉะนั้น อาจไม่เหมาะกับคนที่ ทำงานเลื่อยๆ
• วัฒนธรรมบ้างอย่าง ต้องปรับระหว่างกัน
• ความรับผิดชอบในการทำงานสูง ต้องรอบครอบในการทำงาน
• มีความอิสระทางความคิดและการตัดสินใจ แต่เป็นดาบสองคม ต้องเรียนรู้ ในงานและใช้ประสบการณ์ ในการพิจารณา ในงานต่างๆด้วย (อาจตัดสินใจผิดพลาด แต่อย่าเสียกำลังใจ และเรียนรู้ต่อไป ) เพราะ บ้างคนอาจกลัวจนไม่กล้าตัดสินใจ อาจทำให้ งานไม่เดิน ฉะนั้น การตัดสินใจใดๆ ต้องอ้างอิงจากข้อมูลเป็นหลัก
• การประเมินผลที่ชัดเจนเป็นระบบ แต่อย่างไรก็ อิงกลุ่ม เพื่อทำให้เกิดการแข่งขัน พัฒนาความสามารถส่วนบุคคล ยังผลสู่บริษัท
• ได้ใช้ภาษาต่างประเทศ แต่ ก็เป็นอุปสรรค ในการสื่อสารที่ชัดเจนเช่นกัน
• ส่งเสริมการอบรมในการทำงานในทุกๆด้าน สร้างบุคคลกรที่มีคุณภาพ แต่ก็ เกิดสมองไหลได้ง่าย ทำให้ต้องหาบุคคลกรทดแทน อยู่ตลอด ทำให้ขาดบุคคลกรที่มีความรู้เชิงลึกเฉพาะด้าน หรือ มีน้อย
ความเป็นมาของทฤษฎี Z
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีเหตุการณ์ที่สำคัญในด้านธุรกิจประการหนึ่งเกิดขึ้น คือ ผลผลิตทางด้านอุตสาหกรรมของประเทศญี่ปุ่นได้เพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี และเพิ่มขึ้นในอัตราสูง แต่ในขณะที่อุตสาหกรรมในอเมริกากลับเพิ่มขึ้นในอัตราที่ต่ำมาก และต่ำกว่าอัตราผลผลิตของประเทศต่าง ๆ ในยุโรป นักธุรกิจชาวอเมริกันได้ตระหนักถึงความจริงในเรื่องนี้ จึงได้พยายามศึกษาค้นคว้าหาวิธีต่าง ๆ ที่จะนำมาแก้ไจสถานการณ์ เพื่อความอยู่รอดขององค์การ
3.ทฤษฎี MBO
กระบวนการของ MBO
กระบวนการของ MBO มีรายละเอียดดังนี้ครับ
1. การกำหนดเป้าหมายขององค์กร
ผู้บังคับบัญชาจะต้องเข้าใจในเป้าหมายและทิศทางที่องค์กรจะมุ่งไปอย่างชัดเจน แล้วนำ
เป้าหมายและทิศทางขององค์กรมาวางแผนการทำงานให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา
2. แจ้งวัตถุประสงค์และเป้าหมายให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้ทราบ
โดยอาจให้ผู้ใต้บังคับบัญชาไปจัดทำแผนปฏิบัติการย่อยแล้วกลับมารายงานให้ทราบในเบื้องต้นว่าจะมีแนวทางดำเนินการอย่างไร
3. ผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชาตกลงกันให้ชัดเจน
ในขั้นนี้ทั้งหัวหน้าและลูกน้องจะต้องมาหารือกันก่อนที่จะเริ่มงานว่าจะบรรลุเป้าหมาย
ร่วมกันได้อย่างไร, กรอบของระยะเวลามีเท่าใด, เริ่มต้นและสิ้นสุดเมื่อใด, จะมีการติดตามและตรวจสอบผลการปฏิบัติงานกันอย่างไร เพื่อให้มีความเข้าใจตรงกันและมีการปฏิบัติงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
4. ปล่อยให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงานไปตามแผนที่ได้ตกลงกัน
เมื่อตกลงกันเรียบร้อยตามข้อ 3 ในขั้นนี้หัวหน้าก็ต้องปล่อยให้ลูกน้องทำงานไปตามที่เขา
ได้รับมอบหมาย ซึ่งไม่ได้แปลว่าหัวหน้าปล่อยไปแล้วปล่อยไปเลยนะครับ ทั้งนี้หากลูกน้องมีปัญหาหรือมีอุปสรรคอย่างใด ก็ย่อมจะกลับมาหารือกับหัวหน้าได้เสมอนะครับ
5. ผู้บังคับบัญชาตรวจสอบและติดตามผลการปฏิบัติงาน
ในขั้นนี้หัวหน้าก็จะต้องมีการตรวจสอบความคืบหน้าของงานว่าลูกน้องทำงานไปได้เท่าไร
ซึ่งหัวหน้าก็จะต้องกำหนดวิธีการติดตามผลในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การให้ลูกน้องรายงานความคืบหน้าในที่ประชุม, การให้ทำเป็นรายงาน เพื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมายว่าลูกน้องสามารถปฏิบัติงานไปได้กี่เปอร์เซ็นต์ตามกรอบระยะเวลาที่ตกลงกันไว้แล้ว และจะบรรลุเป้าหมายเมื่อใด เป็นไปตามแผนงานหรือไม่ หรือจะต้องมีการปรับเปลี่ยนแผนงานหรือไม่อย่างไร เป็นต้น
6. มีระบบรางวัลรองรับ
แน่นอนครับว่าหากลูกน้องสามารถปฏิบัติงานได้ตามแผนงานที่ตกลงกันไว้แล้ว หัวหน้าก็
จะต้องมาพิจารณาว่าจะมีการให้คุณให้โทษสำหรับลูกน้องที่มีความสามารถ (หรือไม่สามารถ) ทำงานนั้น ๆ ได้แค่ไหนเพียงใด บรรลุเป้าหมายที่หารือกันไว้ในตอนแรกหรือไม่ เพราะเหตุใด
ลักษณะของเป้าหมายที่กำหนดร่วมกัน
จากกระบวนการของ MBO ข้างต้น ผมขอขยายถึงเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ร่วมกันระหว่างหัวหน้ากับลูกน้องดังนี้คือ
เป้าหมายที่กำหนดขึ้นนั้นจะต้องสอดคล้องกับกลยุทธ์หรือทิศทางที่องค์กรจะมุ่ง
ไป เช่น องค์กรมีนโยบายในการเพิ่มยอดขายขึ้นจากปีที่ผ่านมาอีก 20 เปอร์เซ็นต์
เมื่อเป็นเช่นนี้เป้าหมายของหน่วยงานต่าง ๆ จะต้องถูกกำหนดให้สอดคล้องกับทิศทาง
นโยบายในเรื่องการเพิ่มยอดขาย ดังนั้นผู้จัดการฝ่ายขายจะต้องรับเป้าหมายนี้มาวางแผนในการจัดทีมงานและตั้งเป้าหมายการขายให้กับพนักงานขายในสังกัด โดยการถ่ายทอดเป้าหมายดังกล่าว และหารือกันเพื่อกำหนดเป้าหมายของทีมงานและของตัวบุคคล เช่น การกำหนดให้พนักงานจะต้องขยายยอดขายสำหรับลูกค้าเดิมเพิ่มขึ้นอีก 15 เปอร์เซ็นต์ และแสวงหาลูกค้าใหม่เพิ่มขึ้นอีก 15 เปอร์เซ็นต์ภายในปีนี้ เป็นต้น
ในขณะที่ฝ่ายบริการลูกค้าก็จะต้องรับเป้าหมายนี้มาถ่ายทอดให้กับพนักงานในฝ่ายบริการลูกค้าเพื่อสร้างความประทับใจให้กับลูกค้าได้อย่างไร โดยมีเป้าหมายที่ชัดเจน เช่น การจัดทำแบบสอบถามความพึงพอใจของลูกค้าเพื่อนำกลับมาประมวลผลว่าดีขึ้นหรือไม่อย่างไร เพราะจะมีผลกระทบต่อยอดขายด้วยเช่นกัน เช่น การกำหนดเป้าหมายว่าพนักงานบริการลูกค้าจะต้องออกตลาดไปพบลูกค้าอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน เพื่อสอบถามความพึงพอใจของลูกค้ารายใหญ่ เป็นต้น
ในฝ่ายฝึกอบรมก็จะต้องรับนโยบายเพิ่มยอดขายขึ้นมากอีก 20 เปอร์เซ็นต์มาจัดการฝึกอบรมให้กับพนักงานขาย, พนักงานบริการลูกค้า เช่น อาจกำหนดเป้าหมายให้จะต้องมีชั่วโมงเข้าอบรมความรู้ในเรื่องการขาย และการให้บริการลูกค้าอย่างน้อยคนละ 30 ชั่วโมง ต่อคน ต่อปี เป็นต้น
เป้าหมายจะต้องมีความท้าทาย ดังที่ได้ยกตัวอย่างที่ผมได้ยกมาให้เห็นข้างต้น ซึ่ง
เป้าหมายของแต่ละหน่วยงานนั้นจะต้องมีความท้าทาย ไม่ยากจนทำให้ผู้ปฏิบัติท้อแท้ หรือไม่ง่ายจนไม่รู้จะกำหนดเป้าไว้ทำไม ซึ่งหัวหน้ากับลูกน้องจะต้องมาตกลงกันในเรื่องเป้าหมายเพื่อให้เข้าใจตรงกันครับ
เป้าหมายนั้นจะต้องวัดผลได้เป็นรูปธรรม ซึ่งควรจะต้องมีการวัดผลได้ทั้งเขิงปริมาณ
และเชิงคุณภาพประกอบกันครับ
มีกำหนดระยะเวลาที่ชัดเจน โดยทำให้ทั้งหัวหน้าและลูกน้องรับทราบถึงกำหนด
ระยะเวลาในการวัดผลการดำเนินงานเพื่อติดตามและประเมินผลได้อย่างชัดเจน และทำงานได้ทันตามเวลาครับ
MBO เหมือนหรือแตกต่างจาก Balanced Scorecard (BSC) อย่างไร ?
มาถึงตรงนี้แล้วหลายท่านคงอยากทราบนะครับว่า แล้วเจ้า MBO กับระบบการบริหารจัดการในยุคใหม่ที่เรียกว่า Balanced Scorecard น่ะมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
ส่วนที่มีความเหมือนกันระหว่าง MBO กับ BSC มีดังนี้
แนวคิดในการกำหนดวัตถุประสงค์เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่องค์กรต้องการ
การแปลงวัตถุประสงค์จากระดับองค์กรลงสู่ระดับหน่วยงานลงเรื่อย ๆ จนถึง
ตัวบุคคลผู้ปฏิบัติ
มีระบบการควบคุมตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ร่วมกัน
มีระบบรางวัลรองรับ
ส่วนที่แตกต่างกันระหว่าง MBO กับ BSC คือ
BSC เกิดทีหลังจึงมีแนวคิดที่กว้างและละเอียดมากกว่า MBO
BSC เน้นในเรื่องการวัดผลในรายละเอียดมากกว่า MBO
การเริ่มทำ BSC จะเริ่มจากการหาวิสัยทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ขององค์กรก่อน แล้วจึง
นำกลยุทธ์นั้นมาแปลงเป็นดัชนีชี้วัดหลักเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามกลยุทธ์
4มี.ค.61
1. ทฤษฎีของการบริหารจัดการ โดย Henry Fayol (1949ที่เขียนหนังสือไว้)
เป็นบิดาของการบริหารจัดการสมัยใหม่
เป็นเจ้าของแนวคิดว่าด้วยการจัดการในการบริหารงานของผู้บริหารงานทั้งภาครัฐและเอกชน หลักการจัดการดังกล่าวมีความยืดหยุ่นได้ สาระของหลักการจัดการมี 14 ข้อ ดังนี้
1.Division of work การจัดแบ่งกลุ่มแรงงานตามความชำนาญ เพื่มเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
2.Authority and Responsibility อำนาจหน้าที่ การทำให้คนบริหารงานระดับต่างๆ มีสิทธิจะสั่งการและมีอำนาจที่ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องเชื่อฟัง
3. Discipline กฎระเบียบและวินัย การต้องมีกฎระเบียบที่คนจำต้องปฏิบัติตาม
4. Unity of command
5. Unity of direction
6. Subordination of individual interests to the general interest
7. Remuneration
8.Centralization
9.Scalar chain(line of authority)
10.Order
11. Equity ความยุติธรรมแฃะเสมอภาค
12.Stability of tenure(ความครอบครอง) of personnelความมั่นคงในการทำงาน
13. Initiative การต้องมีความริเริ่ม
14.Esprit de corps(Spirit of cooperation) การต้องมีขวัญและกำลังใจ
แผน 5 ปัจจัย เรียกว่า POCCC
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น